กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโลยีสารสนเทศ หมายถึงกระบวนการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล
เพื่อกระทำให้เป็นสารสนเทศ การจัดเก็บและการนำเสนอสารสนเทศให้เป็นปัจจุบันทันต่อเหตุการณ์
อ่านต่อเพื่อกระทำให้เป็นสารสนเทศ การจัดเก็บและการนำเสนอสารสนเทศให้เป็นปัจจุบันทันต่อเหตุการณ์
กระบวนการเทคโลยีสารสนเทศ
มีขั้นตอน 6 ขั้นดังนี้
1.การรวบรวมข้อมูล
2 การตรวจสอบข้อมูล
3การประมวลผลข้อมูล
4การจัดเก็บข้อมูล
5การคิดวิเคราะห์
6การนำข้อมูลไปใช้
1.การรวบรวมข้อมูล
วิธีการดำเนินการ
เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล และบันทึกข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
เพื่อการประมวลผล เช่น บันทึกในแฟ้ม เอกสาร บันทึกไว้ในคอมพิวเตอร์ จดบันทึก
ไว้ในสมุด เป็นต้น
ไว้ในสมุด เป็นต้น
2 การตรวจสอบข้อมูล ขั้นตอนการตรวจสอบข้อมูลในลักษณะต่างๆ เช่น การตรวจสอบ เพื่อหาข้อผิดพลาด ความน่าเชื่อถือ ความสมเหตุสมผล เพื่อให้มีความมั่นใจได้ว่าข้อมูลที่ได้รับการรวบรวมและบันทึกไว้อย่างถูกต้อง
3.การประมวลผลข้อมูล หมายถึง วิธีการดำเนินการกระทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
ข้อมูล การประมวลผล สารสนเทศ
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข ข้อความ รูปภาพ เสียง
ที่เกี่ยวกับคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ต่างๆหรือสิ่งที่ยอมรับ
ว่าเป็นความจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาค สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล หรือจัดระบบแล้ว เพื่อให้มีความหมายและคุณค่าสำหรับผู้ใช้ เช่น ปริมาณการขายสินค้าแต่ละตัวจำแนกตามเขตการขาย
ที่เกี่ยวกับคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ต่างๆหรือสิ่งที่ยอมรับ
ว่าเป็นความจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาค สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล หรือจัดระบบแล้ว เพื่อให้มีความหมายและคุณค่าสำหรับผู้ใช้ เช่น ปริมาณการขายสินค้าแต่ละตัวจำแนกตามเขตการขาย
การนำข้อมูลไปประมวลผลมีด้วยกันหลายวิธี แต่มีวิธีง่ายๆ
สำหรับนักเรียนที่จะใช้ศึกษาในเบื้องต้น 4 วิธีคือ
สำหรับนักเรียนที่จะใช้ศึกษาในเบื้องต้น 4 วิธีคือ
1. การจัดเรียง คือ การนำข้อมูลหลาย ๆ
ข้อมูลมาจัดเรียงลำดับตามเกณฑ์ที่กำหนด เช่น จัดเรียง
ข้อมูลชื่อตามตัวอักษร จัดเรียงข้อมูลคะแนนจากมากไปหาน้อย เป็นต้น
2. การหาค่าเฉลี่ย คือ การนำเอาข้อมูลมาเฉลี่ย เช่น การนำเอาคะแนนสอบรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศมาหาค่าเฉลี่ยเป็นต้น
3. การเปรียบเทียบ คือ การนำเอาข้อมูลประเภทเดียวกันมาเปรียบเทียบเพื่อหาค่าแตกต่างหรือความเหมือนกัน
4. การหาแนวโน้ม คือ การนำเอาข้อมูลประเภทเดียวกันมาเปรียบเทียบตามระยะเวลา เช่น นำคะแนนของนักเรียนคนหนึ่งมาเปรียบเทียบกับคะแนนของตนเองในช่วงการสอบย่อยในช่วงของการสอบย่อยต่าง
ๆ
4การจัดเก็บข้อมูลการเก็บรักษาข้อมูลเพื่อการบริหาร โดยเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ
5การคิดวิเคราะห์ขั้นตอนการดำเนินการ เพื่อสรุปความสำคัญของข้อมูลสารสนเทศ ให้ตรงสภาพที่เป็นจริงตรงตามวัตถุประสงค์ ก่อนที่จะนำข้อมูลมาใช้
6การนำข้อมูลไปใช้การนำข้อมูลไปใช้ในลักษณะต่างๆ
•ประโยชน์ของสารสนเทศ
1. ใช้ในการวางแผนการบริหาร
2. ใช้ประกอบการตัดสินใจ
3. ใช้ในการควบคุมสถานการณ์ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
4. เพื่อให้การบริหารงานมีระบบ ลดความซ้ำซ้อน
2. ใช้ประกอบการตัดสินใจ
3. ใช้ในการควบคุมสถานการณ์ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
4. เพื่อให้การบริหารงานมีระบบ ลดความซ้ำซ้อน
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
เหมาะกับระบบงานที่ต้องทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง และมีปริมาณงานมากหรืองานที่ต้องการความรวดเร็ว ในการคำนวณเกินกว่าคนธรรมดาจะทำได้
วิธีการโดยทั่วไป คือ ปรับเปลี่ยนวิธีการหรือระบบการทำงานแบบเดิม มาใช้ระบบงานที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยทำงานเป็นบางส่วน หรือทั้งหมด เท่าที่สามารถจะทำแทนคนได้
วิธีการโดยทั่วไป คือ ปรับเปลี่ยนวิธีการหรือระบบการทำงานแบบเดิม มาใช้ระบบงานที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยทำงานเป็นบางส่วน หรือทั้งหมด เท่าที่สามารถจะทำแทนคนได้
ดังนั้น
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงต้อง
มีการสร้างระบบงานคอมพิวเตอร์ขึ้นมาช่วยทำงานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ วิธีการโดยทั่วไป เราอาจไม่ต้องสร้างระบบงานทั้งหมดขึ้นใหม่ แต่พัฒนาระบบงานเดิมให้เป็นระบบงานที่ทำงานโดยคอมพิวเตอร์
นิยมเรียกกันว่า การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์
มีการสร้างระบบงานคอมพิวเตอร์ขึ้นมาช่วยทำงานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ วิธีการโดยทั่วไป เราอาจไม่ต้องสร้างระบบงานทั้งหมดขึ้นใหม่ แต่พัฒนาระบบงานเดิมให้เป็นระบบงานที่ทำงานโดยคอมพิวเตอร์
นิยมเรียกกันว่า การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์
1.1 ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์
มีการจัดขั้นตอนการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์และสารสนเทศดังนี้
1. วิเคราะห์ระบบงานหรือปัญหา ( System or problem analysis ) รวมถึงรายละเอียดข้อมูลที่ต้องใช้โดยการศึกษาระบบงานเดิมอย่างละเอียด
2. กำหนดรายละเอียดของความต้องการของผู้ใช้ระบบงาน
( Require-ments specification )
1.1 ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์
มีการจัดขั้นตอนการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์และสารสนเทศดังนี้
1. วิเคราะห์ระบบงานหรือปัญหา ( System or problem analysis ) รวมถึงรายละเอียดข้อมูลที่ต้องใช้โดยการศึกษาระบบงานเดิมอย่างละเอียด
2. กำหนดรายละเอียดของความต้องการของผู้ใช้ระบบงาน
( Require-ments specification )
3. ออกแบบขั้นตอนวิธีการทำงานของระบบใหม่
4. ตรวจสอบขั้นตอนวิธีให้ได้ผลตามความต้องการ
5. ออกแบบโปรแกรม
( Program design
6.เขียนชุดคำสั่ง
( Coding )
7. ทดสอบโปรแกรม
( Testing )และหาที่ผิดพลาด(Debuugging)
8. นำโปรแกรมและระบบงานไปใช้งานจริง
( Implementation oroperation)
9. บำรุงรักษา
ติดตามผล แก้ไขปรับปรุง ( Software maintenance and improvement ) เพื่อให้ทันสมัยใช้ได้ตลอดไป
จะเห็นว่าการพัฒนาระบบสารสนเทศ จำเป็นจะต้องรู้ขั้นตอนวิธีการทำงานของระบบเดิม ตามด้วยการหาวิธีการแก้ปัญหา โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์และโปรแกรม จากนั้นจึงออกแบบ
วิธีการทำงานในระบบใหม่ให้ระเอียดซึ่งจะต้องมีการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขึ้นมาช่วยทำงานบางส่วนหรือทั้งหมด
จะเห็นว่าการพัฒนาระบบสารสนเทศ จำเป็นจะต้องรู้ขั้นตอนวิธีการทำงานของระบบเดิม ตามด้วยการหาวิธีการแก้ปัญหา โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์และโปรแกรม จากนั้นจึงออกแบบ
วิธีการทำงานในระบบใหม่ให้ระเอียดซึ่งจะต้องมีการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขึ้นมาช่วยทำงานบางส่วนหรือทั้งหมด
1.2 ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานโดยการจัดซื้อโปรแกรมสำเร็จรูป
ในกรณีที่เราไม่ได้พัฒนาโปรแกรมเอง แต่เป็นการจัดซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้งาน เราอาจปรับเปลี่ยนขั้นตอนมาเป็นดังนี้
1. วิเคราะห์ปัญหาและระบบงานที่จะทำ (System or problem analysis) รวมถึงรายละเอียดข้อมูลที่มีอยู่
2. กำหนดรายละเอียดของความต้องการของผู้ใช้ระบบงาน
(Require-ments specification)
3. ออกแบบขั้นตอนวิธีการทำงานของระบบใหม่
4. ตรวจสอบขั้นตอนวิธีว่าให้ผลตรงกับที่ต้องการ
5. จัดหาโปรแกรมที่ทำงานตรงตามความต้องการ
โดยการซื้อหรือจ้างทำ
6. นำโปรแกรมและระบบงานไปใช้จริง (Implementation
oroperation)
7. บำรุงรักษาระบบ ติดตามผลและแก้ไขปรับปรุง (Software
mainte-mance and improvement)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น